ข้อมูล CD และ DVD
CD-ROM (Compact Disc Read Only
Memory)
เป็นแผ่นบันทึกข้อมูลที่ใช้เทคโนโลยีเลเซอร์สีแดง ที่มีความยาวของคลื่นแสง 780 nm มีขนาดความจุ ตั้งแต่ 600 - 870 MB มีสองแบบ คือแบบเขียนอย่างเดียว(CD-R) และสามารถลบแล้วเขียนซ้ำได้(CD-RW) CD-ROM
มีจุดเริ่มต้นในปี 1978 เมื่อบริษัทฟิลิปส์ (Philips) และโซนี่ (Sony)ได้ร่วมมือกันที่จะผลิตคอมแพคดิสก์สำหรับบันทึกเสียง (CD) โดยในปี 1982 ทั้งสองบริษัทได้กำหนดมาตรฐานของซีดีรวมทั้งรายละเอียดเกี่ยวกับการบันทึก เสียง วิธีการอ่านซีดีและขนาดของซีดี โดยกำหนดเป็น 5 นิ้ว ซึ่งกล่าวกันว่าการที่กำหนดขนาดของแผ่นดิสก์เป็น 5 นิ้วนั้นก็เพราะว่าแผ่นดิสก์ขนาดนี้สามารถบรรจุซิมโฟนี่หมายเลข 9 ของบีโธเฟนได้ ทั้งสองบริษัทยังคงร่วมมือกันตลอดทศวรรษ 1970 ได้มีการกำหนดรายละเอียดเพิ่มเติมในการใช้เทคโนโลยีของซีดี กับข้อมูลคอมพิวเตอร์ ทำให้มีการพัฒนาซีดีรอมที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน
เป็นแผ่นบันทึกข้อมูลที่ใช้เทคโนโลยีเลเซอร์สีแดง ที่มีความยาวของคลื่นแสง 780 nm มีขนาดความจุ ตั้งแต่ 600 - 870 MB มีสองแบบ คือแบบเขียนอย่างเดียว(CD-R) และสามารถลบแล้วเขียนซ้ำได้(CD-RW) CD-ROM
มีจุดเริ่มต้นในปี 1978 เมื่อบริษัทฟิลิปส์ (Philips) และโซนี่ (Sony)ได้ร่วมมือกันที่จะผลิตคอมแพคดิสก์สำหรับบันทึกเสียง (CD) โดยในปี 1982 ทั้งสองบริษัทได้กำหนดมาตรฐานของซีดีรวมทั้งรายละเอียดเกี่ยวกับการบันทึก เสียง วิธีการอ่านซีดีและขนาดของซีดี โดยกำหนดเป็น 5 นิ้ว ซึ่งกล่าวกันว่าการที่กำหนดขนาดของแผ่นดิสก์เป็น 5 นิ้วนั้นก็เพราะว่าแผ่นดิสก์ขนาดนี้สามารถบรรจุซิมโฟนี่หมายเลข 9 ของบีโธเฟนได้ ทั้งสองบริษัทยังคงร่วมมือกันตลอดทศวรรษ 1970 ได้มีการกำหนดรายละเอียดเพิ่มเติมในการใช้เทคโนโลยีของซีดี กับข้อมูลคอมพิวเตอร์ ทำให้มีการพัฒนาซีดีรอมที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน
DVD (Digital Video Disc หรือ Digital Versatile Disc)
เป็นแผ่นบันทึกข้อมูลที่ใช้ เทคโนโลยีเลเซอร์สีแดงที่มีความยาวของคลื่นแสง 650 nm DVD ในชื่อเต็มว่า Digital Video Disc ดีวีดีมีเมื่อปี 1995 หลังจากซีดี 13 ปี โดยมีกลุ่มพันธมิตรใหม่ได้ก่อตั้งขึ้นเป็นสมาคม ดีวีดี (DVD Consortium) มีบริษัทฟิลิปส์ โซนี่ และอีก 7 บริษัทได้แก่ ฮิตาชิ แมทซูชิต้า (พานาโซนิค) ไพโอเนียร์ มิตซูบิชิ เจวีซี ธอมสัน โตชิบ้า และบริษัทไทม์ วอร์นเนอร์
แรกๆใช้ชื่อเต็มว่า "Digital Video Disc" ต่อมา เมื่อวันที่ 29 มีนาคม ปี 1996 สมาคมผู้ผลิตภาพยนตร์สหรัฐอเมริกาและสมาคมผู้ผลิตสินค้าเนื่องจากซอฟต์แวร์ หรือข้อมูลที่รองรับจะเกี่ยวกับด้านมัลติมีเดียและภาพยนตร์ ต่อมามีการประยุกต์ใช้ดีวีดีให้สามารถรองรับการทำงาน ด้านอื่นมากขึ้น โดยเฉพาะความสามารถ ในการเก็บบันทึกข้อมูลต่างๆ นอกจากภาพยนตร์วีดีโอ เปลี่ยนมาเป็นคำว่า Digital Versatile Disc แทนแต่ก็ยังคงเรียกใช้ทั้งสองแบบ หลังจากบริษัทโซนี่ และฟิลิปส์ ได้ร่วมมือกันพัฒนาซีดีรูปแบบต่างๆ ออกมาสู่ตลาดโลกและพัฒนาสื่อ DVDอีกชนิดหนึ่งโดยรูปลักษณ์ภายนอกของแผ่น DVD นั้นมีลักษณะเช่นเดียวกันกับแผ่นซีดีถ้าไม่บอกหรืออ่านโลโก้บนแผ่นเพียง มองดูด้วยตาเปล่าก็คงแยกไม่ออกว่าแผ่นใดเป็น DVD แผ่นใดเป็นซีดีธรรมดา
แผ่น DVD สามารถเก็บข้อมูลได้มากเมื่อเทียบกับแผ่นซีดี มาตรฐานสามารถเก็บข้อมูลได้ 700 เมกะไบต์ แต่แผ่น DVD สามารถเก็บได้มากกว่าถึง 7 เท่า ในแบบ 1 ชั้น (Layer) คือประมาณ 4.7 กิกะไบต์ เมื่อกล่าวถึงระบบภาพแล้ว DVD สามารถให้ภาพที่คมชัดใกล้เคียงกับเทปต้นแบบจากสตูดิโอ ซึ่งมากกว่า 500 เส้น ด้วยระบบการบีบอัดสัญญาณดิจิตอล รวมถึงการส่งผ่านของข้อมูลที่มีความเร็วถึง 9.8 Mbps ซึ่งมากกว่า VCD ที่มีอัตราการส่งผ่านเพียง 1.5 Mbps และเมื่อเปรียบเทียบความคมชัด DVDให้รายละเอียดที่มากกว่า VCD ถึง 4 เท่า และระบบเสียงนั้นสามารถเก็บเสียงที่เป็นระบบ Dolby Digital (AC-3), DTS 5.1 Channel ได้ภายในแผ่นเดียวอีกทั้งสามารถบรรจุเสียงพากย์ได้ 8 ภาษา และบันทึกคำบรรยายได้ถึง 32 ภาษา
เป็นแผ่นบันทึกข้อมูลที่ใช้ เทคโนโลยีเลเซอร์สีแดงที่มีความยาวของคลื่นแสง 650 nm DVD ในชื่อเต็มว่า Digital Video Disc ดีวีดีมีเมื่อปี 1995 หลังจากซีดี 13 ปี โดยมีกลุ่มพันธมิตรใหม่ได้ก่อตั้งขึ้นเป็นสมาคม ดีวีดี (DVD Consortium) มีบริษัทฟิลิปส์ โซนี่ และอีก 7 บริษัทได้แก่ ฮิตาชิ แมทซูชิต้า (พานาโซนิค) ไพโอเนียร์ มิตซูบิชิ เจวีซี ธอมสัน โตชิบ้า และบริษัทไทม์ วอร์นเนอร์
แรกๆใช้ชื่อเต็มว่า "Digital Video Disc" ต่อมา เมื่อวันที่ 29 มีนาคม ปี 1996 สมาคมผู้ผลิตภาพยนตร์สหรัฐอเมริกาและสมาคมผู้ผลิตสินค้าเนื่องจากซอฟต์แวร์ หรือข้อมูลที่รองรับจะเกี่ยวกับด้านมัลติมีเดียและภาพยนตร์ ต่อมามีการประยุกต์ใช้ดีวีดีให้สามารถรองรับการทำงาน ด้านอื่นมากขึ้น โดยเฉพาะความสามารถ ในการเก็บบันทึกข้อมูลต่างๆ นอกจากภาพยนตร์วีดีโอ เปลี่ยนมาเป็นคำว่า Digital Versatile Disc แทนแต่ก็ยังคงเรียกใช้ทั้งสองแบบ หลังจากบริษัทโซนี่ และฟิลิปส์ ได้ร่วมมือกันพัฒนาซีดีรูปแบบต่างๆ ออกมาสู่ตลาดโลกและพัฒนาสื่อ DVDอีกชนิดหนึ่งโดยรูปลักษณ์ภายนอกของแผ่น DVD นั้นมีลักษณะเช่นเดียวกันกับแผ่นซีดีถ้าไม่บอกหรืออ่านโลโก้บนแผ่นเพียง มองดูด้วยตาเปล่าก็คงแยกไม่ออกว่าแผ่นใดเป็น DVD แผ่นใดเป็นซีดีธรรมดา
แผ่น DVD สามารถเก็บข้อมูลได้มากเมื่อเทียบกับแผ่นซีดี มาตรฐานสามารถเก็บข้อมูลได้ 700 เมกะไบต์ แต่แผ่น DVD สามารถเก็บได้มากกว่าถึง 7 เท่า ในแบบ 1 ชั้น (Layer) คือประมาณ 4.7 กิกะไบต์ เมื่อกล่าวถึงระบบภาพแล้ว DVD สามารถให้ภาพที่คมชัดใกล้เคียงกับเทปต้นแบบจากสตูดิโอ ซึ่งมากกว่า 500 เส้น ด้วยระบบการบีบอัดสัญญาณดิจิตอล รวมถึงการส่งผ่านของข้อมูลที่มีความเร็วถึง 9.8 Mbps ซึ่งมากกว่า VCD ที่มีอัตราการส่งผ่านเพียง 1.5 Mbps และเมื่อเปรียบเทียบความคมชัด DVDให้รายละเอียดที่มากกว่า VCD ถึง 4 เท่า และระบบเสียงนั้นสามารถเก็บเสียงที่เป็นระบบ Dolby Digital (AC-3), DTS 5.1 Channel ได้ภายในแผ่นเดียวอีกทั้งสามารถบรรจุเสียงพากย์ได้ 8 ภาษา และบันทึกคำบรรยายได้ถึง 32 ภาษา
HD DVD (High Definition DVD)
เป็นมาตรฐานของออปติคอลดิสก์ซึ่งพัฒนาโดยโตชิบา ในรูปแบบของ ดีวีดี เจเนอเรชันใหม่ ซึ่งมีความคมชัดมากกว่า DVD ในปัจจุบัน โดยมีขนาดของแผ่นเท่ากับแผ่น CD ธรรมดา และยิงด้วย blue laser แบบเดียวกับที่ใช้ใน Blu-ray Disc โดยในแบบ single layer จะความจุมากถึง 15 GB และ dual layer มีความจุ 30 GB ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่งอย่าง Blu-ray Disc ซึ่งจุได้ 25 GB สำหรับ single layer และ 50GB สำหรับ dual layer อาจจะได้ความจุน้อยกว่าแต่ราคาจะถูกกว่า
เป็นมาตรฐานของออปติคอลดิสก์ซึ่งพัฒนาโดยโตชิบา ในรูปแบบของ ดีวีดี เจเนอเรชันใหม่ ซึ่งมีความคมชัดมากกว่า DVD ในปัจจุบัน โดยมีขนาดของแผ่นเท่ากับแผ่น CD ธรรมดา และยิงด้วย blue laser แบบเดียวกับที่ใช้ใน Blu-ray Disc โดยในแบบ single layer จะความจุมากถึง 15 GB และ dual layer มีความจุ 30 GB ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่งอย่าง Blu-ray Disc ซึ่งจุได้ 25 GB สำหรับ single layer และ 50GB สำหรับ dual layer อาจจะได้ความจุน้อยกว่าแต่ราคาจะถูกกว่า
BD (Blu Ray Disc)
คือ แผ่นเก็บข้อมูล แบบ Optical Disc รูปแบบใหม่ที่สามารถเก็บข้อมูลได้มากกว่าแผ่น DVD แบบเดิมซึ่งสามารถจัดเก็บข้อมูลได้ถึง 25 GB. ต่อ 1 Layer โดย ถ้า 1 แผ่น BD แบบ 2 Layer หรือ Dual Layer เท่ากับว่า 1 แผ่น BD มีความจุถึง 50 GB ซึ่ง BD ถือเป็นคู่แข่งสำคัญของ HD DVD ที่มี Toshiba เป็นหัวเรือใหญ่
BD ใช้ความยาวคลื่นแสงเลเซอร์ 405 นาโนเมตร หรือ ช่วงแสงสีฟ้าม่วง (Blue-Violet) ซึ่งทำให้เก็บข้อมูลได้มากกว่าแบบเดิมซึ่งใช้คลื่นแสงเลเซอร์สีแดง พัฒนาขึ้นโดยสถาบัน Blu-ray Disc (R) Association (BDA) โดยเป็นการรวมตัวกันของ Matsushita, Pioneer, Pillips, Thomson, LG Electronics, Hitachi, Sharp, Samsung และ Sony ซึ่งมี Sony เป็นผู้นำ
คือ แผ่นเก็บข้อมูล แบบ Optical Disc รูปแบบใหม่ที่สามารถเก็บข้อมูลได้มากกว่าแผ่น DVD แบบเดิมซึ่งสามารถจัดเก็บข้อมูลได้ถึง 25 GB. ต่อ 1 Layer โดย ถ้า 1 แผ่น BD แบบ 2 Layer หรือ Dual Layer เท่ากับว่า 1 แผ่น BD มีความจุถึง 50 GB ซึ่ง BD ถือเป็นคู่แข่งสำคัญของ HD DVD ที่มี Toshiba เป็นหัวเรือใหญ่
BD ใช้ความยาวคลื่นแสงเลเซอร์ 405 นาโนเมตร หรือ ช่วงแสงสีฟ้าม่วง (Blue-Violet) ซึ่งทำให้เก็บข้อมูลได้มากกว่าแบบเดิมซึ่งใช้คลื่นแสงเลเซอร์สีแดง พัฒนาขึ้นโดยสถาบัน Blu-ray Disc (R) Association (BDA) โดยเป็นการรวมตัวกันของ Matsushita, Pioneer, Pillips, Thomson, LG Electronics, Hitachi, Sharp, Samsung และ Sony ซึ่งมี Sony เป็นผู้นำ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น